การประเมินเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประเมินเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา มุ่งตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Learing Outcomes) ทั้ง 5 ด้านที่ผู้เรียนควรได้รับ ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย ในการทำแบบสอบถามครั้งนี้ (ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564) รายงานรายงานผลการประเมินตนเอง (ผลสัมฤทธ์ทางการศึกษาของนักศึกษา) ประกอบด้วย
ด้านคุณธรรม จริยธรรม หมายถึง การพัฒนานิสัยในการประพฤติอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม และด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม ความสามารถในการปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยม การพัฒนานิสัยและการปฏิบัติตนตามศีลธรรม ทั้งในเรื่องส่วนตัวและสังคม
ด้านความรู้ หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจ การนึกคิด และการนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์และจำแนกข้อเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนกระบวนการต่างๆ และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
ด้านทักษะทางปัญญา หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์และใช้ความรู้ ความเข้าใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการต่างๆ ในการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ๆ ที่ไม่ได้คาดคิดมาก่อน
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ หมายถึง ความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การแสดงถึงภาวะผู้นำ ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีทางคณิตศาสตร์และสถิติ ความสามารถในการสื่อสารทั้งการพูด การเขียน และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ด้านที่ 1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1 ความมีวินัยและความรับผิดชอบ
1.2 ความซื่อสัตย์สุจริต
1.3 ความเสียสละ
1.4 ความสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่คนอื่น
1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ของความเป็นมนุษย์
ด้านที่ 2 ด้านความรู้
2.1 ความรู้และความสามารถจำจดได้จากการเรียนรู้ในรายวิชา/หลักสูตร
2.2 ความรู้และความเข้าใจที่ได้รับจากการมอบหมายให้ศึกษาหรือแสวงหาแหล่งความรู้
2.3 ความเข้าใจในรายวิชา สามารถธิบาย/วิเคราะห์ได้อย่างลึกซึ้ง
2.4 สามารถประยุกต์ความรู้จากรายวิชาสู่การปฏิบัติ
2.5 สามารถผสมผสานความรู้ในรายวิชาเข้ากับความรู้ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ในรายวิชาอื่น
ด้านที่ 3 ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถบูรณาการความรู้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม
3.2 สามารถหาแนวทางในการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ที่ได้จากรายวิชา/หลักสูตร
ด้านที่ 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
4.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
4.3 สามารถเรียนรู้อย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพได้
ด้านที่ 5 ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 สามารถเลือกใช้หลักการทางคณิตศาสตร์และสถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ปัญหา
5.2 สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการพูด อ่านและเขียน
5.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอและสื่อสาร
5.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางด้านนวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เกณฑ์การแปลความหมายเพื่อจัดระดับคะแนนเฉลี่ย ในช่วงคะแนนดังต่อไปนี้
คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.80 แปลความว่า มีผลน้อยที่สุด
คะแนนเฉลี่ย 1.81-2.60 แปลความว่า มีผลน้อย
คะแนนเฉลี่ย 2.61-3.40 แปลความว่า มีผลปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 3.41-4.20 แปลความว่า มีผลมาก
คะแนนเฉลี่ย 4.21-5.00 แปลความว่า มีผลมากที่สุด
ผลการประเมินตนเองของนักศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ปีการศึกษา 2564
- ชั้นปีที่ 4 จำนวน 85 คน
- ชั้นปีที่ 3 จำนวน 74 คน
- ชั้นปีที่ 2 จำนวน 121 คน
- ชั้นปีที่ 1 จำนวน 161 คน
ด้านที่ 1 ด้านคุณธรรรม จริยธรรม
ด้านที่ 2 ด้านความรู้
ด้านที่ 3 ด้านทักษะทางปัญญา
ด้านที่ 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ด้านที่ 5 ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ร่วมประเมินผลสัมฤทธ์การจัดการเรียนรู้จำนวน 299 คน โดยรวมประเมินตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ [x = 4.40 ระดับมากที่สุด]
คุณธรรม | ความรู้ | ปัญญา | มนุษยสัมพันธ์ | เทคโนโลยี | รวม5ด้าน | ||||||
Mean | 4.44 | Mean | 4.40 | Mean | 4.43 | Mean | 4.40 | Mean | 4.34 | Mean | 4.40 |
Standard Deviation | 0.62 | Standard Deviation | 0.63 | Standard Deviation | 0.63 | Standard Deviation | 0.63 | Standard Deviation | 0.67 | Standard Deviation | 0.64 |
สรุปผล
จากการประเมินตนเองของนักศึกษาด้านผลสัมฤทธ์ทางการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา โดยรวมประเมินตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ [x = 4.40 ระดับมากที่สุด] ซึ่งมีค่าเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 กล่าวได้ว่า “การจัดการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาและหลักสูตร สอดคล้องกับ มคอ.3/มคอ.4 ที่วางกรอบไว้ตาม มคอ.2 (กรอบมาตรฐานการเรียนรู้)
การประเมินตนเองของนักศึกษาภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2564
การประเมินตนเองของนักศึกษาภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2564
หัวข้อที่เกี่ยวข้อง
คำชี้แจง
การประเมินเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาประเมินตนเองเกี่ยวกับระดับความรู้ ความสามารถ ทักษะ พฤติกรรม หลังจากเรียนแล้ว
จึงขอความร่วมมือจากนักศึกษาในการประเมินตนเองตามความจริง โดยเลือกคำตอบในช่องที่เห็นว่าใกล้เคียงกับความจริงมากที่สุด
แบบประเมินตนเองประกอบด้วย
1. ข้อมูลทั่วไป
2. แบบประเมินรายวิชา (เฉพาะที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน)
วิชาแกน 3 วิชา 9 หน่วยกิต
วิชาเฉพาะด้าน(บังคับ) 18 วิชา 54 หน่วยกิต
วิชาเฉพาะด้าน(เลือก) 7 วิชา 21 หน่วยกิต
วิชาชีพ 2 วิชา 8 หน่วยกิต
ภาคเรียนที่ 1
ทฤษฎีองค์การและการจัดการ
สันติศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์
หลักและเทคนิคการบริหารงานร่วมสมัย
การปกครองท้องถิ่นไทย
การบริหารการคลังและงบประมาณ
กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง
กฎหมายและจริยธรรมสำหรับนักบริหาร
การบริหารแรงงานและสวัสดิการสังคม
กฎหมายอาญา
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การบริหารโครงการ
กฎหมายลักษณะพยาน
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร์ภาคเรียนที 2
ระบบบริหารราชการไทย
การบริหารการพัฒนา
นโยบายสาธารณะและการวางแผน
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ
การบริหารงานรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน
ภาวะผู้นำสำหรับการบริหารและการสร้างทีมงาน
ธรรมาภิบาลในองค์การภาครัฐ
การบริหารความขัดแย้ง
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
ภาษาอังกฤษสำหรับนักรัฐประศาสนศาสตร์
หลักกฎหมายปกครอง
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์